

Tiramisu
ที่จริงแล้วตามdict ของผมและแฟนเก่า
etymology ของ "tiramisu"
มีที่มาจาก ภาษาไทย + ภาษาอังกฤษ
นึกถึงวันเก่าๆก็เศร้า เมื่อก่อนเวลาที่จะขอโทษแฟนผมจะซื้อcake tiramisuให้
(ส่วนใหญ่ซื้อที่ coffee world อร่อยใช้ได้)
เวลาทะเลาะกัน ไม่พูดคำว่าขอโทษ แต่ให้cakeแทน
จริงๆแล้ว tiramisu มาจากคำว่า "ที่รัก miss you"
เออที่จิงแล้วมันก็แค่ความหมายของคนสองคนที่รู้กันแค่อยากจะเล่าให้ฟัง
ตอนนี้ไม่ได้ซื้อtiramisuให้ใครมานานแล้ว ไม่ใช่ไม่ได้ทะเลาะกับแฟน
แต่ไม่มีแแฟน : (
Jag älskar dig
It's been one year exactly since we broke up.
Jag älskar dig fortfarande mycket.
Alright! Today I'm going to talk about
the Swedish verb.The Swedish verbs can be categorized into 4 groups.
1. (ar) e.g. älskar (love)
2. (er) e.g. köper (buy)
3. (r) e.g. tror (think)
4. irregular verb
Basically, there are 5 forms for each verb in Swedish.
a. the imperative verbthe following are some of the (ar) verb
[imperative / infinitive / present / past / supine]Jag älskar dig : I love you
älska / älska / älskar / älskade / älskat
Hon talar svenska : She speaks Swedish
tala / tala / talar / talade / talat
Han frågade var jag bodde : He asked where I lived
fråga / fråga / frågar / frågade / frågat
Vänta på bussen---wait for the bus
vänta / vänta / väntar / väntade / väntat
In the (ar) verb, the imperative and the infinitive forms have the same spelling.
that's it for 2day.
Medical confrultation : confrontation + consultation
การประชุมหรือการปรึกษาระหว่างแพทย์แผนกเดียวกันหรือคนละแผนกมักจะต้องมี
การโต้แย้งกัน
กินหัว
positive approach
เม้ง
bluff
สอนและอธิบายในแง่มุมที่อีกฝ่ายคาดไม่ถึง
discredit
(แบบที่ประชุมเงียบๆ สบายๆ ไม่อึดอัด ไม่กินหัว ก็มีเยอะ)
แพทย์แต่ละคนมีความรู้ไม่ต่างกันมาก
แต่อาจมี EQ, professional etiquette, clinical experiences etc. ต่างกันมากหน่อย
โดยเฉพาะ professional etiquette, พื้นฐานอารมณ์, ลักษณะนิสัย ฯลฯ
จะให้เหมือนกัน เท่ากันคงเป็นไปไม่ได้
คงไม่ต่างจากวงการอื่นมากนักที่มีคนหลากหลายแบบและมีปัญหาในการทำงาน/ประชุม
แต่วงการแพทย์หนักกว่าหน่อยเพราะต้องdealกับคนเยอะ...ต้องพูดมาก
วันนี้ขอพูดถึง medical evidence/references ซึ่งถูกนำมาใช้ใน medical practice/conferences/consultations
อย่างแพร่หลาย และเป็นระบบมากขึ้น
referencesต่างๆ ใน clinical practice
-----------------------------------------------------------------------------------
clinical expert opinions case reports RCT
consensus cross-sectional study meta-analysis
protocol ต่างๆ standard textbook(ซึ่งก็นำevidences มาจากข้างบน) etc.
-----------------------------------------------------------------------------------
clinical evidences ต่างๆเหล่านี้ มันก็มีที่มาต่างกัน ความน่าเชื่อถือต่างกัน
ก่อนจะนำไปใช้ใน clinical practice มันก็ต้องผ่าน
>>> judgement ของ attending physician โดยเค้าอาจจะคิดทบทวนดูเอง
ว่าจะเอาข้อมูลจากไหน, appraise, จำนวนevidenceมากน้อยแค่ไหน เชื่ออะไรได้บ้าง
ซึ่งก็คือ evidence-based medicine
attending physician ท่านนั้นๆ อาจจะคิดดูคนเดี่ยว หรือ ถ้ายังตัดสินใจไม่ได้ก็ยังมี
1. Morning report
2. CPC (Clinical-Pathology Conference)
3. MM (Morbidity/Mortality conference)
4. Interesting case
5. Consults
แต่สุดท้ายมันก็จบที่ attendingท่านนั้นต้องเป็นคนนำไปใช้กับคนไข้
อันนี้มันก็เป็น art และมีปัจจัยอื่นๆเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น setting ของคนไข้, settingของหมอและโรงพยาบาล ฯลฯ...
การpostถามและตอบclinical questionsใน internet หรือ webboard มันก็ถือว่า โอเค กลางๆ... ไม่ใช่ว่าpostไปแล้ว จขกท เค้าจะเชื่อหรือนำไปใช้เลย...จขกท เค้าก็พิจารณาเองอีกที
5 ทุ่ม 45 นาที
อีก 15 นาที ก็จะได้ลงเวรแล้ว
...คิดว่าจะได้กลับไปนอนสบาย
คนไข้มาด้วย
ให้ประวัติว่า acute dyspnea 4 - 5 ชม PTA
RR ~ 40/min anxiousมาก
pt อยู่ในท่า นั่ง!!! หอบ พยาบาลบังคับให้นอนลง
แต่คนไข้ฝืนสุดแรง
no underlying disease!!!!
no smoking hx
ไม่เคย on medications อะไร
พยาบาลตะโกนมาบอกว่า "นี่หมอๆ asthma หน่ะ มาดูcase trauma ทางนี้ก่อน"
ดูหอบจริงมี marked subcostal retractionสุดๆ
ดูแล้ว respiratory failure น่าจะรีบใส่ tube
คนไข้ดู anxious เหมือนคนจมน้ำหรือขาดอากาศ
เดินเข้าไปฟังปอด ได้ยิน wheezing bilat ชัดมาก + medium-to-coarse crepitations
"ใส่ tube ครับพี่" ผมตะโกนให้พยาบาลทั้งER มาช่วยกันเตรียม
IV access, EKG monitor, O2 sat, โทรบอกICU, port CXR
ขณะช่วยกันจับให้คนไข้นอนเพื่อที่ผมจะได้ใส่ tube
คนไข้ก็ฝืนสุดแรงเพื่อจะนั่ง = sign นึงของภาวะcardiac asthma
>>> ขอตั้งชื่อsignว่า "T sign" พบได้ในภาวะ severe cardiac asthma :D
pathophysiology คงอธิบายได้เหมือนกับ PND หรือ orthopnea
เพราะถ้าเป็น atopic asthma เรื่องท่าทางที่ผู้ป่วยมาpresentนี่ไม่เกี่ยว
ขณะกำลังจะงัด... หายใจเฮือกสุดท้าย สุดท้ายจริงๆ
หยุดหายใจ pulse คล่ำไม่ได้ BP วัดไม่ได้
cardiac arrest
ผมก็เลยรีบใส่ tube
ใส่ง่ายมากๆ (จะไม่ง่ายได้ไงก็คนไข้ดูท่าทาง hypoxia, hypotonia มาก)
แต่พอเห็น pink frothy sputum ก็รู้เลยว่าเป็น cardiac asthma
พอซักประวัติกลับไปสองวัน pt เริ่มเหนื่อยแบบ DOE ไม่มี PND
จากhx ไม่มี leg edema
Pt มี cardiac asthma
sudden severe pulmonary congestion
ผลautopsy ptเป็น ventricular septal rupture
ส่วนอาการของวันแรกๆคงเป็น signs of ventricular failure, CHF
Vital signs change นี่ ไม่ว่า จะ pulse, BP หรือ โดยเฉพาะ RR
ทำให้pt ตายได้เร็วมาก และโดยเฉพาะในเด็กเล็กต้องระวังมากๆ