Medical confrultation : confrontation + consultation
การประชุมหรือการปรึกษาระหว่างแพทย์แผนกเดียวกันหรือคนละแผนกมักจะต้องมี
การโต้แย้งกัน
กินหัว
positive approach
เม้ง
bluff
สอนและอธิบายในแง่มุมที่อีกฝ่ายคาดไม่ถึง
discredit
(แบบที่ประชุมเงียบๆ สบายๆ ไม่อึดอัด ไม่กินหัว ก็มีเยอะ)
แพทย์แต่ละคนมีความรู้ไม่ต่างกันมาก
แต่อาจมี EQ, professional etiquette, clinical experiences etc. ต่างกันมากหน่อย
โดยเฉพาะ professional etiquette, พื้นฐานอารมณ์, ลักษณะนิสัย ฯลฯ
จะให้เหมือนกัน เท่ากันคงเป็นไปไม่ได้
คงไม่ต่างจากวงการอื่นมากนักที่มีคนหลากหลายแบบและมีปัญหาในการทำงาน/ประชุม
แต่วงการแพทย์หนักกว่าหน่อยเพราะต้องdealกับคนเยอะ...ต้องพูดมาก
วันนี้ขอพูดถึง medical evidence/references ซึ่งถูกนำมาใช้ใน medical practice/conferences/consultations
อย่างแพร่หลาย และเป็นระบบมากขึ้น
referencesต่างๆ ใน clinical practice
-----------------------------------------------------------------------------------
clinical expert opinions case reports RCT
consensus cross-sectional study meta-analysis
protocol ต่างๆ standard textbook(ซึ่งก็นำevidences มาจากข้างบน) etc.
-----------------------------------------------------------------------------------
clinical evidences ต่างๆเหล่านี้ มันก็มีที่มาต่างกัน ความน่าเชื่อถือต่างกัน
ก่อนจะนำไปใช้ใน clinical practice มันก็ต้องผ่าน
>>> judgement ของ attending physician โดยเค้าอาจจะคิดทบทวนดูเอง
ว่าจะเอาข้อมูลจากไหน, appraise, จำนวนevidenceมากน้อยแค่ไหน เชื่ออะไรได้บ้าง
ซึ่งก็คือ evidence-based medicine
attending physician ท่านนั้นๆ อาจจะคิดดูคนเดี่ยว หรือ ถ้ายังตัดสินใจไม่ได้ก็ยังมี
1. Morning report
2. CPC (Clinical-Pathology Conference)
3. MM (Morbidity/Mortality conference)
4. Interesting case
5. Consults
แต่สุดท้ายมันก็จบที่ attendingท่านนั้นต้องเป็นคนนำไปใช้กับคนไข้
อันนี้มันก็เป็น art และมีปัจจัยอื่นๆเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น setting ของคนไข้, settingของหมอและโรงพยาบาล ฯลฯ...
การpostถามและตอบclinical questionsใน internet หรือ webboard มันก็ถือว่า โอเค กลางๆ... ไม่ใช่ว่าpostไปแล้ว จขกท เค้าจะเชื่อหรือนำไปใช้เลย...จขกท เค้าก็พิจารณาเองอีกที
No comments:
Post a Comment