คนที่ไม่ได้ยืนอยู่ตรงนั้นไม่มีทางเข้าใจ
อัยการชื่อFoti นี่ไม่ได้เป็นอาชญากรซะทีเดียว แต่ผมคิดว่าสิ่งที่เค้าทำต่อหมอAnna Pou มันก็เหมือนกับฆ่าหมอAnna Pou...ตายทั้งเป็น
หมอAnna Pouถูกตั้งข้อหาฆ่าคนตาย...
เรื่องมันยาวแต่หลายๆคนน่าจะเคยได้ยินหรือทราบเรื่องของคุณหมอ Anna Pou แล้ว
ปี 2005 "Katrina catastrophe"
พายุเข้ามา 4 วัน
ไฟฟ้า, น้ำ ก็ไม่มี
แต่เครื่องinfusion pump, V/S monitor, ICU, defib และอุปกรณ์ทางการแพทย์หลายอย่างต้องใช้ไฟฟ้า
หมอส่วนใหญ่อพยพออกไปแล้ว
แต่หมอ Anna Pou ยังอยู่ดูแลคนไข้ที่โรงบาลต่อ
หมอเจ้าของไข้ ทิ้งคนไข้และเลือกที่จะอพยพ >>> ประเด็นนี้ไม่ขอออกความเห็น
น้ำท่วมโรงพยาบาล Memorial Hospital in New Orleans
แม้แต่คนในเมืองที่ไม่ใช่คนไข้ ก็ได้รับการช่วยเหลือจากรัฐบาลกลางล่าช้า
แน่นอนว่าคนไข้พวก terminally ill, DNR pt, คนไข้ที่ambulateไม่ได้...เหล่านี้คงไม่ได้รับการช่วยเหลือหรืออพยพก่อนแน่นอน
สภาพโรงบาลมีข้อจำกัดหลายอย่าง เท่าที่อ่านรายละเอียด ผมว่าสิ่งที่หมอPouทำ นั้นถูกต้องและไม่ควรถูกตั้งข้อหาฆ่าคนตาย
ส่วนในแง่persecution ทางอัยการก็ใช้หลักฐานเรื่อง ระดับMOในtissueบ่งบอกว่าเป็นตัวบ่งบอกถึง lethal plasma MO concentration... ซึ่งหลักฐานแค่นี้ก็ไม่น่าจะ prosecute ได้
ส่วนในแง่ medical practice/ethic/dilemma นั้น คนที่เป็นอัยการไม่มีทางเข้าใจแน่นอน มันต้องพิจารณาในเรื่องสภาพแวดล้อม/ข้อจำกัดของทรัพยากร/ข้อจำกัดในเรื่องบุคคลากร/เวลา/คนที่ไม่ได้ยืนอยู่ตรงนั้นไม่มีทางเข้าใจ
เจตนารมณ์ของ criminal law = เอาผิดกับอาชญากร เพื่อปกป้องคนในสังคม
กระบวนการยุติธรรมในด้าน criminal law ไม่สามารถทำตามเจตนารมณ์ของกฎหมายได้ในทุกcase = แพทย์เป็นเหยื่อ
คดีที่ทุ่งสง ผู้พิพากษาทำถูกต้องทุกอย่าง ขั้นตอนในการทำงานของผู้พิพากษามีระเบียบแบบแผน ผู้พิพากษาทุกคนไม่ใช้อารมณ์หรือความรู้สึกในการพิจารณาคดี ผู้พิพากษาดูหลักฐานแล้วพิจารณาไปตามหลักฐานที่ทนาย/อัยการเสนอ
กระบวนการยุติธรรม = ตำรวจ -- > อัยการ/ทนาย --> ผู้พิพากษา
ส่วนใหญ่ปัญหาอยู่ที่ไหนบ้าง
เช่น คดีผู้กองณัฐฏ์ และ คดีหมอสุทธิพร
1 comment:
Well written article.
Post a Comment